Thammasat Law Center

Thammasat Law CenterThammasat Law CenterThammasat Law Center
  • หน้าหลัก
  • ความช่วยเหลือของเรา
    • ขอคำปรึกษาทางอีเมล
    • ขอคำปรึกษาทางโทรศัพท์
    • ขอคำปรึกษาด้วยตนเอง
    • ขอความช่วยเหลือทางคดี
    • การฝึกงานวิชาชีพกฎหมาย
    • การบริการสังคม
  • เผยแพร่ความรู้
    • บทความสั้น
    • บทความวิชาการ
    • สรุปสัมมนาทางวิชาการ
    • เกร็ดความรู้กฎหมาย
    • สื่อวีดิโอกฎหมายน่ารู้
  • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ข่าวสารศูนย์นิติศาสตร์
    • ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
    • ประกาศ
    • ข่าวสารทั้งหมด
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติศูนย์นิติศาสตร์
    • ตราสัญลักษณ์
    • ผู้ที่มีส่วนขับเคลื่อน
    • โครงสร้างศูนย์นิติศาสตร์
    • ทำเนียบผู้อำนวยการ
    • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • ติดต่อเรา
    • Contact Us
    • ภารกิจศูนย์นิติศาสตร์
  • คำถามที่พบบ่อย FAQ
    • FAQ
  • More
    • หน้าหลัก
    • ความช่วยเหลือของเรา
      • ขอคำปรึกษาทางอีเมล
      • ขอคำปรึกษาทางโทรศัพท์
      • ขอคำปรึกษาด้วยตนเอง
      • ขอความช่วยเหลือทางคดี
      • การฝึกงานวิชาชีพกฎหมาย
      • การบริการสังคม
    • เผยแพร่ความรู้
      • บทความสั้น
      • บทความวิชาการ
      • สรุปสัมมนาทางวิชาการ
      • เกร็ดความรู้กฎหมาย
      • สื่อวีดิโอกฎหมายน่ารู้
    • ข่าวสารและกิจกรรม
      • ข่าวสารศูนย์นิติศาสตร์
      • ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
      • ประกาศ
      • ข่าวสารทั้งหมด
    • เกี่ยวกับเรา
      • ประวัติศูนย์นิติศาสตร์
      • ตราสัญลักษณ์
      • ผู้ที่มีส่วนขับเคลื่อน
      • โครงสร้างศูนย์นิติศาสตร์
      • ทำเนียบผู้อำนวยการ
      • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
      • ติดต่อเรา
      • Contact Us
      • ภารกิจศูนย์นิติศาสตร์
    • คำถามที่พบบ่อย FAQ
      • FAQ

Thammasat Law Center

Thammasat Law CenterThammasat Law CenterThammasat Law Center
  • หน้าหลัก
  • ความช่วยเหลือของเรา
    • ขอคำปรึกษาทางอีเมล
    • ขอคำปรึกษาทางโทรศัพท์
    • ขอคำปรึกษาด้วยตนเอง
    • ขอความช่วยเหลือทางคดี
    • การฝึกงานวิชาชีพกฎหมาย
    • การบริการสังคม
  • เผยแพร่ความรู้
    • บทความสั้น
    • บทความวิชาการ
    • สรุปสัมมนาทางวิชาการ
    • เกร็ดความรู้กฎหมาย
    • สื่อวีดิโอกฎหมายน่ารู้
  • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ข่าวสารศูนย์นิติศาสตร์
    • ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
    • ประกาศ
    • ข่าวสารทั้งหมด
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติศูนย์นิติศาสตร์
    • ตราสัญลักษณ์
    • ผู้ที่มีส่วนขับเคลื่อน
    • โครงสร้างศูนย์นิติศาสตร์
    • ทำเนียบผู้อำนวยการ
    • กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
    • ติดต่อเรา
    • Contact Us
    • ภารกิจศูนย์นิติศาสตร์
  • คำถามที่พบบ่อย FAQ
    • FAQ

การขอความช่วยเหลือทางคดี

      ผู้ร้องที่มีความประสงค์จะขอทนายความเพื่อให้ความช่วยเหลือทางคดี จำเป็นที่จะต้องผ่านการขอคำปรึกษากฎหมายมาก่อน เมื่อได้รับคำปรึกษาและให้ข้อเท็จจริงต่อทนายความ/นิติกร/ผู้ให้คำปรึกษา (ผู้รับเรื่อง) และส่งมอบเอกสารหรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง พร้อมแจ้งความประสงค์ขอทนายความให้ความช่วยเหลือทางคดี เพื่อที่ผู้รับเรื่องจะพิจารณาต่อไปว่าคำขอนั้นเป็นไปตามเงื่อนไขการให้ความช่วยเหลือทางคดีหรือไม่


ศูนย์นิติศาสตร์ขออธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไขและขั้นตอนการพิจารณาการให้ความช่วยเหลือทางคดี ดังนี้

1. หลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือทางคดี   ศูนย์นิติศาสตร์มีเงื่อนไขในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ดังนี้ 

    (1) ผู้ขอความช่วยเหลือเป็นผู้ไม่ได้รับความเป็นธรรมในกรณีที่เกิดข้อพิพาท

    (2) ผู้ขอความช่วยเหลือไม่มีส่วนร่วมในการกระทำความผิด

    (3) ผู้ขอความช่วยเหลือเป็นผู้มีฐานะยากจน ไม่มีเงินเพียงพอว่าจ้างทนายความเข้าต่อสู้คดีในชั้นศาลได้

    (4) รูปคดีทั้งข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงมีทางที่จะให้ความช่วยเหลือได้

    (5) ไม่เป็นคดีเกี่ยวด้วยปัญหาครอบครัว เว้นแต่เป็นคดีที่เกี่ยวกับการเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร หรือสวัสดิภาพและประโยชน์สูงสุดของเด็กผู้เยาว์

2. หลักฐานที่จำเป็นต้องใช้สำหรับผู้ขอความช่วยเหลือทางคดี

    (1) สำเนาบัตรประชาชน

    (2) ข้อมูลของคู่กรณี (ถ้ามี)

    (3) เอกสารหรือพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรณีที่ขอความช่วยเหลือ

3. ขั้นตอนการให้ความช่วยเหลือ ได้แก่

    (1) ผู้ร้องมาติดต่อขอความช่วยเหลือที่สำนักงานฯ ด้วยตนเอง

    (2) ทนายความหรือนิติกร ผู้รับเรื่องมีหน้าที่สอบข้อเท็จจริงและให้คำปรึกษาเบื้องต้น

    (3) รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกรณีที่ขอความช่วยเหลือ

    (4) สรุปข้อเท็จจริงพร้อมทำความเห็นเพื่อเสนอที่ประชุม

    (5) บันทึกข้อมูลลงในสารบบเพื่อการติดตามตรวจสอบการให้ความช่วยเหลือ

    (6) พิจารณาคำร้องขอความช่วยเหลือโดยที่ประชุมศูนย์นิติศาสตร์ เพื่อพิจารณาว่าจะมีมติให้ความช่วยเหลือหรือไม่

4. กรณีมีมติให้ความช่วยเหลือ

    (1) ที่ประชุมศูนย์นิติศาสตร์พิจารณาจ่ายสำนวนให้ทนายความรับผิดชอบดำเนินการ

    (2) แจ้งมติที่ประชุมให้ผู้ร้องทราบ

    (3) ติดต่อผู้ร้องเพื่อชี้แจงขั้นตอนการดำเนินคดี

    (4) รวบรวมพยานหลักฐาน

    (5) ร่างคำฟ้อง คำร้องหรือคำให้การ แล้วตรวจสอบความถูกต้อง

    (6) ยื่นคำคู่ความต่อศาลภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด

    (7) ทนายความผู้รับผิดชอบคดีปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย

    (8) รายงานการปฏิบัติงานต่อที่ประชุมฯ และแจ้งความคืบหน้าคดีแก่ผู้ร้อง

    (9) ดำเนินการให้ความช่วยเหลือจนคดีถึงที่สุด

5. ข้อควรทราบในการขอความช่วยเหลือทางคดี

   (1) กรณีไม่สามารถเดินทางไปขอความช่วยเหลือด้วยตนเองอาจมอบอำนาจให้คนในครอบครัวดำเนินการแทนได้

   (2) กรณีผู้รับเรื่องแจ้งให้ส่งเอกสารที่จำเป็น ผู้ขอความช่วยเหลือต้องส่งเอกสารภายในระยะเวลาที่กำหนด เพื่อให้สามารถดำเนินการได้ด้วยความรวดเร็วต่อเนื่อง

©2024 TU Law Center

Powered by WE Tech Consulting

This website uses cookies.

เราใช้คุกกี้ในการวิเคราะห์การเข้าชมเว็บไซต์และปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้งานเว็บไซต์ของคุณให้ดีขึ้น เมื่อยอมรับการใช้งานคุกกี้ของเรา เราจะรวบรวมข้อมูลของคุณกับข้อมูลผู้ใช้อื่น ๆ ทั้งหมด

Accept